การประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
จะทําให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนปรับปรุงตนเองอยู่ เสมอ เพราะการประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอาศัยการประเมินตัวต่อตัว
ประเมินกลุ่มย่อยและ การทดลองภาคสนาม
การออกแบบการเรียนการสอนจะทําให้การประเมินในลักษณะนี้มีความชัดเจนขึ้น
และใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ โดยประเมินผู้เรียนแต่ละคนเปรียบเทียบกับจุดประสงค์
หรือจุดหมายและ ระดับคุณภาพ (เกณฑ์ที่กําหนดไว้
นอกจากนี้ยังเป็นการเสริมสร้างนิสัยที่พึงปรารถนา ให้แก่ผู้เรียนอีกด้วย ที่
จัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเป็นพื้นฐานแล้ว
ผู้เรียนจะติดนิสัยการให้ความร่วมมือกัน จะทําให้ สังคมได้เยาวชน
และผู้ประกอบวิชาชีพในสาขาต่างๆ ที่เห็นแก่ส่วนรวม มีความเป็นประชาธิปไตย ยอมรับ
ความคิดเห็น และปฏิบัติตามมติของกลุ่ม แม้ว่าตนเองจะไม่เห็นด้วย
รู้จักช่วยให้กลุ่มประสบความสําเร็จใน งาน เพราะงานบางอย่าง บางประเภท
ไม่อาจทําสําเร็จได้โดยลําพังผู้เดียว ต้องอาศัยความร่วมมือช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน
ส่วนกลุ่มที่มีการแข่งขันกันนั้นควรจะเป็นการเสริมแรงทางบวก คือ
การแข่งขันกับตนเอง เพื่อที่จะเอาชนะใจตนเอง มีวินัยในตนเอง และพัฒนาตนเองในที่สุด
วันจันทร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2562
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
-
เทคนิคการสอนแบบKWDL การสอนด้วยเทคนิค KWDL เป็นเทคนิคการเรียนรู้ที่พัฒนามาจาก KWLของโอเกิล(Ogle 1986) ที่ต้องอาศัยทักษะการอ่านเป็นฐาน นั่...
-
การวิเคราะห์ภาระงาน การวิเคราะห์ภาระงานคล้ายคลึงกันกับการวิเคราะห์งานแต่มีระดับของการวิเคราะห์อยู่ที่ รายละเอียด-หน่วยย่อย การวิเคราะห์งาน...
-
การออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล ( UDL : Universal Design for Learning) แนวคิด Universal Design เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบสิ่งแวดล้อมการเ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น